วิธีคำนวณ VA ของ UPS

ขนาดกำลังไฟฟ้า (VA) ที่อุปกรณ์ไฟฟ้าจำเป็นต้องใช้ ขนาดกำลังไฟฟ้าของโหลดที่ต่อพ่วง ไม่ควรสูงเกินกว่า 80% ของกำลังไฟฟ้าของ UPS  (UPS ควรใหญ่กว่ากำลังไฟรวมของโหลด เพื่อสำรองไว้ในกรณี Overload)การคำนวณขนาดของ UPS  ที่เหมาะสมกับอุปกรณ์ไฟฟ้า ให้ปฏิบัติดังนี้ รวบรวมรายการอุปกรณ์ไฟฟ้าที่จะต่อพ่วงกับระบบ UPS ทั้งหมด เช่น คอมพิวเตอร์, จอ, โมเด็ม, สแกนเนอร์ และอุปกรณ์ที่จำเป็นอื่นๆ ดูว่าอุปกรณ์ไฟฟ้ากินไฟกี่วัตต์ หรือ กี่ VA โดยอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละชนิดจะมีป้ายแสดงค่าพิกัดกำลัง (Nameplate) ท้ายเครื่อง (ป้ายนี้จะแสดงข้อมูลแรงดันไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า)

Read More
Leave a comment

ประเภทของ UPS

UPS แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้ Offline UPS หรือ Standby UPS สภาวะไฟฟ้าปกติ อุปกรณ์ไฟฟ้า (Load) จะได้รับพลังงานไฟฟ้าจากระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้า (Main) จากการไฟฟ้าโดยตรง ในขณะเดียวกัน เครื่องประจุกระแสไฟฟ้า (Charger) จะทำการประจุกระแสไฟฟ้าให้กับแบตเตอรี่ไปด้วย แต่เวลาที่ไฟฟ้าดับ แบตเตอรี่จะจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับเครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า (Inverter) เพื่อแปลงกระแสไฟฟ้าและจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้า โดยใช้ตัวสับเปลี่ยน (Transfer Switch) สำหรับเลือกแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าระหว่างระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้าหรือเครื่องแปลงกระแสไฟฟ้ากรณีที่สภาวะไฟฟ้าปกติหรือกระแสไฟฟ้าผิดปกติเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่สั้นมากจนตัวสับเปลี่ยน (Transfer Switch) สลับแหล่งจ่ายไฟฟ้าไม่ทัน พลังงานไฟฟ้าที่จ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าจะมาจากระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้าโดยตรง

Read More
Leave a comment

IEEE 802.11n IEEE 802.11ac IEEE 802.11ax

IEEE 802.11n — IEEE 802.11ac —IEEE 802.11ax คืออะไร IEEE 802.11n        เป็นการเชื่อมต่อไร้สายบนคลื่นความถี่ 2.4GHz เราเตอร์ที่รองรับมีวางขายทั่วไปหาซื้อได้ตามห้างไอที หรือผู้ให้บริการแถมมาเวลาขอติดตั้งอินเทอร์เน็ต ส่วนมากจะมีความเร็ว 300Mbps ส่วนบางรุ่นราคาแพงหลายพันบาทอาจได้ความเร็ว 400-600Mbps ก็มี แน่นอนว่าคลื่น 2.4GHz ถูกนำมาใช้งานตั้งแต่แรกเริ่มตั้งแต่ปี 1999 เรียกได้ว่าเกือบๆ 20 ปีแล้ว ถือได้ว่าเป็นมาตรฐานของการเชื่อมต่อของอุปรณ์ในปัจจุบัน     -ข้อดี

Read More
Leave a comment

Wi-Fi 6 ชื่อใหม่ของ 802.11ax

ปกติแล้วเวลาผู้ใช้งานอย่างเราจะไปซื้อ Router บ้านหรืออุปกรณ์กระจายสัญญาณ Wi-Fi สักตัวหนึ่งหลายคนอาจจะไปยืนงงหน้าร้านว่าควรใช้อุปกรณ์ที่รองรับ 802.11 b/a/g/ac อันไหนมาก่อนมาหลังแบบไหนใหม่กว่า อุปกรณ์ที่จะใช้รองรับอันไหนกันแน่ ตอนนี้ Wi-Fi Alliance (องค์กรกลางที่ออกการรับรองอุปกรณ์ Wi-Fi) จึงได้แก้ปัญหาด้วยการประกาศชื่อใหม่ให้จำง่ายๆ ลดการสับสนเป็น Wi-Fi 6 แทน 802.11ax ที่จะออกมาใช้ปี 2019, Wi-Fi 5 แทน 802.11ac ที่ออกมาในปี 2014 และ Wi-Fi 4 แทน

Read More
Leave a comment

2.4 GHz หรือ 5 GHz ต่างกันยังไง

คลื่นความถี่ที่รองรับ 2.4 GHz หรือ 5 GHz คลื่นความถี่ที่ใช้ใน Wi-Fi จะมีทั้งหมด 2 คลื่นความถี่ด้วยกัน ประกอบไปด้วยคลื่น 2.4 GHz และคลื่น 5 GHz ส่วนข้อแตกต่างระหว่าง คลื่น 2.4 GHz และคลื่น 5 GHz จะเป็นเรื่องของความเร็ว และความกว้างของช่องสัญญาณ นอกจากนี้ยังมีในเรื่องของสัญญาณรบกวนอีกด้วย โดยเราจะทำการเปรียบเทียบระกว่าง 2 คลื่นความถี่ให้เห็นกันไปเลยว่าคลื่นไหนมีข้อดี

Read More
Leave a comment

MESH WIFI คืออะไร

เน็ตบ้านไฟเบอร์กลายเป็นบริการที่หลายบ้านติดเพิ่มเพื่อให้สามารถใช้เน็ตได้เร็วแรง สตรีมหนังเล่นเกมได้แบบไหลลื่นไม่ต้องกลัวเน็ตหมด แต่บางคนก็ต้องเจอปัญหาสัญญาณ WiFi ไม่ครอบคลุมทั่วบ้าน พาลทำให้ใช้งานได้ไม่เต็มแพ็กเกจที่สมัครเอาไว้ จะหาซื้ออุปกรณ์เพิ่มก็ยังสงสัยว่าจะเลือกตัวไหนดี เราเลยจะขอแนะนำเทคโนโลยีต่างๆ รวมถึง Mesh WiFi ที่กำลังเป็นที่นิยมให้รู้จักกัน ใครที่กำลังมองหาซื้อ Router ตัวใหม่อยู่ น่าจะต้องได้ยินคำว่า Mesh WiFi เพราะมันเป็นโซลูชั่นที่กำลังมาเอาซะมากๆ ช่วยแก้ปัญหาเรื่อง WiFi กระจายไม่ทั่วถึง ต้องเดินหาสัญญาณไปทั่วบ้าน จะติดอุปกรณ์อื่นมาติดเพิ่ม ก็ต้องตั้งค่าอะไรวุ่นวาย เสียเวลาล็อคอินใหม่ ใช้แล้วอาจต้องปวดหัวกับสัญญาณแกว่ง แต่ด้วย Mesh WiFi

Read More
Leave a comment

Microsoft & PDPA

แนะนำ Microsoft ที่ให้องค์กรปฏิบัติตามกฎคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลได้อย่างมั่นใจ ใกล้เข้ามาทุกทีกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 กฎหมายที่ว่าด้วยการกำหนดกฎข้อบังคับว่าเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมีสิทธิใดบ้างเหนือข้อมูลนั้นๆ วางแนวทางการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลไม่ให้ถูกนำไปใช้ในทางที่ละเมิดสิทธิของเจ้าของข้อมูล พร้อมกำหนดหน้าที่ที่องค์กรผู้ควบคุมข้อมูล และผู้ประมวลผลข้อมูลจะต้องกระทำเพื่อรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล รวมถึงในกรณีที่เกิดเหตุข้อมูลรั่วไหลขึ้นอีกด้วย โดยกฎหมายฉบับนี้ มีต้นแบบมาจากกฎหมายการคุ้มครอง ‘สิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล’ หรือ General Data Protection Regulation (GDPR) ของสหภาพยุโรป ซึ่งเป็นกฎหมายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่มีบทลงโทษค่าปรับในอัตราที่สูงมาก ดังจะเห็นจากข่าวที่องค์กรระดับโลกหลายแห่งปล่อยปละละเลยทำให้มีการรั่วไหลของข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าถูกปรับเป็นตัวเงินหลายร้อยล้านบาท แม้กฎหมายของเราจะไม่มีโทษปรับที่รุนแรงเหมือน GDPR แต่หากเกิดความเสียหายขึ้น ความเสียหายในแง่ของชื่อเสียง ความเชื่อมั่นของลูกค้า เวลา และค่าใช้จ่ายในการแก้ไข

Read More
Leave a comment

Aruba 550 Series และ 530 Series: Wi-Fi 6 Access Point

ก่อนหน้านี้ Aruba ได้เคยประกาศเปิดตัว Aruba AP 510 Series ซึ่งเป็น Access Point มาตรฐาน Wi-Fi 6 หรือ 802.11ax รุ่นแรก ที่มาพร้อมกับความเร็วสูงสุด 2.97Gbps เหนือกว่า Aruba AP 340 Series ที่รองรับมาตรฐาน Wi-Fi 5 หรือ 802.11ac Wave 2

Read More
Leave a comment

Jarviz : Mobile Time Attendance

โลกยุคหลังปี 2020 การทำงานจะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป พนักงานไม่จำเป็นต้องเข้าทำงานที่ office ระบบการติดตามตัวจะทำได้ดีขึ้น Mobile จะสำคัญมากขึ้นไปอีก Work form Home Fusion ขอนำเสนอ ระบบ Jarviz สำหรับ ช่วยพนักงานในการทำงานนอก office ในการประสานการทำงานพื้นฐาน เช่น ระบบลงเวลา ระบบลา ระบบบันทึกการทำงาน ระบบเบิกเงิน ให้รวมอยู่ใน Application เดียว สนใจติดต่อ Fusion Solution

Read More
Leave a comment

Azure เบื้องต้นบทที่ 1

Azure เบื้องต้นบทที่ 1 วันนี้มาขออธิบายตัว Azure ว่ามันคืออะไร ทำไม เราได้ยินเค้าพูดกันบ่อยๆ ยิ่งยุค นี้ On Cloud กำลังมาแรง คนไม่อยากตั้ง Server เอง ไม่อยากซื้อ License ที่ไม่รู้ว่า Work หรือป่าว แบบนี้ เราลองมาทำความรู้จักกับ Azure กันครับ จำหน่าย Azure License 

Read More
Leave a comment